วันจันทร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2555

ตำนานอาหารเส้น ตอน ก๋วยเตี่ยวเรือ


  ก๋วยเตี๋ยวเรือมีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน มาตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนปลาย ซึ่งชุมชนชาวจีนที่อาศัยอยู่ริมคลองกรุงศรีอยุธยาและบางกอก ได้นำสูตรการปรุงก๋วยเตี๋ยวที่มาจาก
เมืองจีน  มาผสมกับเครื่องปรุง และวัตถุดิบ ของเมืองไทย จนได้เป็นก๋วยเตี๋ยวที่มีความอร่อยถูกปากของชาวไทย และชาวจีนเหล่านั้นจึงนำก๋วยเตี๋ยวบรรทุกบน เรือเอี้ยมจุ้นพายขายในคลองต่างๆทั่วไป เช่นคลองรังสิต คลองบางกอกน้อย จนเป็นที่มาของคำว่าก๋วยเตี๋ยวเรือ แม้ในสมันปัจจุบันก๋วยเตี๋ยวเหล่านี้ได้ขึ้นมาขายบนฝั่งแล้ว แต่ก็ยังติดปากเรียกว่า ก๋วยเตี๋ยวเรืออยู่ และร้านก๋วยเตี๋ยวเรือเหล่านี้ ได้นำเรือมาเพื่อประดับร้าน จนกลายเป็นเอกลักษณ์ของก๋วยเตี๋ยวเรือในปัจจุบันก๋วยเตี๋ยวเรือเหล่านี้มีเอกลักษณ์ พิเศษคือ ต้อง ชาม เล็ก จิ๋ว และต้องกิน 2 ชาม ไม่อิ่ม หากจะได้รับรสของก๋วยเตี๋ยวเรือแท้ ๆ ควรจะรับประทานแบบใส่เนื้อ ไม่ว่าจะเป็น เนื้อ สด เปื่อย หมก ตับ ลูกชิ้นเท่านั้น (แต่หากใครจะกินหมูก็ได้ไม่ว่ากันแต่อาจจะไม่ได้อรรถรสของก๋วยเตี๋ยวเรือเท่าที่ควร) ในส่วนของเส้นนั้น ก๋วยเตี๋ยวเรือ ต้องใส่เส้นเล็ก (ใครกำหนดมาก็ไม่สามารถทราบได้) แต่ใส่เส้นแบบอื่นก็ได้ไม่ว่ากัน เมนูก๋วยเตี๋ยวเรือที่นิยมสั่งกันก็คือเล็กชิ้นสด(ตก) เล็กชิ้นตับ หมี่ชิ้นสด หมี่ชิ้นเปื่อย หมี่ชิ้นใหญ่เนื้อชิ้นเล็กสดตกตับไม่งอกผักบุ้งเยอะๆ และอื่น ๆ อีกมากมาย
ทำไมก๋วยเตี๋ยวเรือถึงต้องชามเล็ก?
ทำไมก๋วยเตี๋ยวเรือถึงชามเล็ก เป็นข้อสงสัยที่มีมาอย่างยาวนาน แต่เราสามารถสันนิษฐานได้จาก การขายก๋วยเตี๋ยวเรือสมัยก่อน มีพ่อค้าในเรือ เพียง 1 คน ซึ่งทำหน้าที่ทั้งหมดทุกอย่างตั้งแต่ พายเรือ ลวกเส้น ปรุงก๋วยเตี๋ยว เสริฟ เก็บตังค์ เก็บชาม ล้างชาม ทั้งหมดทำโดยไม่ได้ขยับตัวเลยแม้แต่นิดเดียว เมื่อมีลูกค้าเรียก พ่อค้าก๋วยเตี๋ยวเรือจะพายเรือไป และจอดเทียบท่า แล้วจึงลวกก๋วยเตี๋ยวขาย ส่วนการล้างจานนั้นก็ล้างในคลองเลยนั้นเอง (สมัยก่อนคลองยังสะอาดอยู่ ) ดังนั้นการที่คนขายอยู่ในเรือ คนซื้ออยู่บนฝั่ง การขนส่งหากเป็นก๋วยเตี๋ยวชามใหญ่จะทำให้หนัก ยกลำบาก อาจทำให้เรือโคลงเคลง อาจเป็นสาเหตุให้เรือล่มได้ ดังนั้นก๋วยเตี๋ยวเรือจึงทำชามเล็กๆ น้ำซุปน้อยๆแต่เข้มข้นเข้าไว้ ทำให้การส่งสินค้าให้ลูกค้าเกิดความปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ลูกค้า และเรือนั้นเอง



 







ทำไมก๋วยเตี๋ยวเรือถึงต้องชามเล็ก?


ทำไมก๋วยเตี๋ยวเรือถึงชามเล็ก เป็นข้อสงสัยที่มีมาอย่างยาวนาน แต่เราสามารถสันนิษฐานได้จาก การขายก๋วยเตี๋ยวเรือสมัยก่อน มีพ่อค้าในเรือ เพียง 1 คน ซึ่งทำหน้าที่ทั้งหมดทุกอย่างตั้งแต่ พายเรือ ลวกเส้น ปรุงก๋วยเตี๋ยว เสริฟ เก็บตังค์ เก็บชาม ล้างชาม ทั้งหมดทำโดยไม่ได้ขยับตัวเลยแม้แต่นิดเดียว เมื่อมีลูกค้าเรียก พ่อค้าก๋วยเตี๋ยวเรือจะพายเรือไป และจอดเทียบท่า แล้วจึงลวกก๋วยเตี๋ยวขาย ส่วนการ
ล้างจานนั้นก็ล้างในคลองเลยนั้นเอง (สมัยก่อนคลองยังสะอาดอยู่ ) ดังนั้นการที่คนขายอยู่ในเรือ คนซื้อ
อยู่บนฝั่ง การขนส่งหากเป็นก๋วยเตี๋ยวชามใหญ่จะทำให้หนัก ยกลำบาก อาจทำให้เรือโคลงเคลง อาจ
เป็นสาเหตุให้เรือล่มได้ ดังนั้นก๋วยเตี๋ยวเรือจึงทำชามเล็กๆ น้ำซุปน้อยๆแต่เข้มข้นเข้าไว้ ทำให้การส่ง
สินค้าให้ลูกค้าเกิดความปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ลูกค้า และเรือนั้นเอง


ประวัติก๋วยเตี่ยวเรือโกฮับ
ตำนานก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิตที่ขึ้นชื่อและโด่งดังของปทุมธานี คือโกฮับ ย้อนผ่านไปประมาณปี พ.ศ. 2500-2510 ใครที่ใช้เส้นทางถนนพหลโยธินข้ามสะพานข้ามคลองรังสิต จะเห็นร้านขายก๋วยเตี๋ยวเรือขึ้นบก โดยมีการนำเอาเรือก๋วยเตี๋ยวมาตั้งหน้าร้านหลายเจ้า เปิดแข่งกัน แต่ละร้านก็ขึ้นป้ายเชื่อมโยงโกฮับเช่นโก.. หลานโกฮับ โก..เหลนโกฮับ เต็มไปหมดจนไม่ทราบว่าใครเป็นทายาทตัวจริงของโกฮับกันแน่ แต่จากการที่มีร้านก๋วยเตี๋ยวเรือมากมาย ในย่านสะพานรังสิต ทำให้ก๋วยเตี๋ยวเรือเป็นที่รู้จักและเริ่มแพร่หลายออกไปมาแล้ว 86 ปี ผู้สร้างตำนานก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิต คือโกฮับ ซึ่งผู้คนรุ่นใหม่สมัยนี้คงจะไม่รู้จักคิดว่าโกฮับไม่มีตัวตนจริง คงเป็นชื่อที่เรียกขานกันเล่นๆ หรือเป็นนิทานที่เล่ากันปากต่อปากกันมาเกี่ยวกับเรื่องก๋วยเตี๋ยวเท่านั้น ความเป็นจริงแล้ว โกฮับมีตัวตนจริง ขายก๋วยเตี๋ยวเรือเป็นเจ้าแรกอยู่ในคลองรังสิตประยูรศักดิ์หรือที่ชาวบ้านนิยมเรียกกันสั้นๆว่า คลองรังสิต ราคาชามละ3 สตางค์
  ข้อมูลประวัติโกฮับที่ค้นคว้าได้อ้างอิงจากผู้รู้ในท้องถิ่น ทราบว่า โกฮับ เป็นชาวจีนไหหลำ แซ่เดิมคือแซ่ห่านเกิดราวปี พ.ศ.2428 บ้านอยู่ข้างโรงพักเก่าริมทางรถไฟ ติดกับประตูน้ำจุฬาลงกรณ์ ตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี มีภรรยาไม่ปรากฏชื่อ มีบุตรชาย 1 คน ชื่อนายประสิทธิ์ แซ่ห่าน ขายผ้าอยู่ในตลาดใหม่ดอนเมือง ต่อมาเป็นโรคประสาทและเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2508 

      จากหนังสืออนุญาตฉบับแรก บริษัทได้เริ่มขุดคลองที่ ๑ โดยเริ่มที่ตำบลบ้านใหม่ ใต้เกาะใหญ่ แขวงเมืองปทุมธานี ไปออกแม่น้ำนครนายก ขนาดคลองกว้าง ๖ วา ลึก ๖ ศอก ยาว ๑,๔๐๐ เส้น เริ่มขุดตั้งแต่วันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ.๒๔๓๖ บริษัทก็ยังขุดคลองสายนี้ไม่เสร็จคงขุดไปได้เพียง ๑๐๐ เส้นเศษ เท่านั้น บริษัทได้ขอเลื่อนเวลาแล้วเสร็จออกไปจากปี พ.ศ. ๒๔๓๕ เป็นปี พ.ศ. ๒๔๔๐ และขอขยายเขตคลองจากขนาดกว้าง ๖ วา ลึก ๖ ศอก เป็นกว้าง ๘ วา ลึก ๕ ศอก และขุดเสร็จในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ นับได้ว่าเป็นคลองสายใหญ่ที่สุดในสมัยนั้น 

      โกฮับเริ่มขายก๋วยเตี๋ยวเรือเมื่อเขาอายุได้ 30 ปีในราวปี พ.ศ.2475 โดยใช้เรือสำปั้นพายไปตามคลองรังสิตและคลองซอยต่างๆตั้งแต่เช้า พอถึงเวลาเที่ยงวันโกฮับจะใส่หมวกกุ๋ยเล้ยพายเรือมาจอดขายบริเวณปากคลองสว่าน(ที่เรียกว่าคลองสว่าน เพราะเรือขุดใช้สว่านขนาดใหญ่ไชดินให้เป็นคลอง)ใต้ถุนสะพานแก้วนิมิต หรือที่ชาวบ้านนิยมเรียกกันติดปากว่าสะพานแก้วในปัจจุบัน เนื่องจากคนงานอู่เรือขุดคลองชลประทานรังสิต หยุดพักเที่ยงจะมาซื้อรับประทาน โกฮับ เลิกขายก๋วยเตี๋ยวเรือเมื่ออายุได้ 67 ปี ตรงกับปี พ.ศ.2494
ความโด่งดังก๋วยเตี๋ยวเรือน้ำตกโกฮับ ไม่ใช่จะรู้จักกันแค่เพียงคนงานอู่เรือขุดเท่านั้น ชาวดอนเมืองกรุงเทพมหานครก็พากับมารับประทานกันทุกวันคลองรังสิตในสมัยนั้นบ้านเรือนปลูกอยู่ห่างกันไม่หนาแน่นเหมือนเดี๋ยวนี้ น้ำในคลองใสสะอาดมองเห็นตัวปลามาแวกว่ายกินเศษอาหาร ริมคลองรังสิตไม่มีต้นหญ้า ไม่มีผักตบชวา มองดูโล่งเตียนไม่มีอะไรกั้นหรือปิดบังเป็นทิวทัศน์ที่สะอาดและสวยงามมาก
      ในช่วงที่โกฮับขายก๋วยเตี๋ยวเรืออยู่นั้น ก็มีคนหันมาขายก๋วยเตี๋ยวเรือกันมากขึ้น เช่น โกเหลียง โกสุ๋ย โกตี๋ ฯลฯ ซึ่งโกฮับมีสูตรเด็ดเคล็ดลับง่ายๆของก๋วยเตี๋ยวน้ำตก คือการแล่เนื้อวัวเป็นชิ้นเล็กๆแล้วกองวางไว้บนตะแกรงทับด้วยก้อนน้ำแข็ง ใต้ตะแกรงมีภาชนะรองรับเลือดที่ถูกละลายมากับน้ำแข็ง ก็จะนำมาทำเป็นก๋วยเตี๋ยวน้ำตกเพิ่มรสชาติของความอร่อยในการรับประทาน และเป็นที่มาของคำว่า”น้ำตก” ซึ่งในปัจจุบันเกือบจะไม่มีให้เห็นวิธีการทำดังกล่าว หลังจากที่โกฮับเลิกขาย คนที่รับช่วงขายก๋วยเตี๋ยวเรือต่อมาคือนายเปี๊ยก และก็มีการเขียนชื่อร้านของตัวเองว่าก๋วยเตี๋ยวเรือต้นตำรับ หลานโกฮับบ้าง แหลนโกฮับบ้าง ก็ขึ้นอยู่กับการที่จะเขียนชื่อร้านเรียกลูกค้ากันอย่างไร ตามแต่ละร้านที่จะหาชื่อมาเชื่อมโยงกับโกฮับดังที่กล่าวไว้ข้างต้น


ก๋วยเตี๋ยวเรือมีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน มาตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนปลาย ซึ่งชุมชนชาวจีนที่อาศัยอยู่ริมคลองกรุงศรีอยุธยาและบางกอก ได้นำสูตรการปรุงก๋วยเตี๋ยวที่มาจาก
เมืองจีน  มาผสมกับเครื่องปรุง และวัตถุดิบ ของเมืองไทย จนได้เป็นก๋วยเตี๋ยวที่มีความอร่อยถูกปากของ
ชาวไทย และชาวจีนเหล่านั้นจึงนำก๋วยเตี๋ยวบรรทุกบน เรือเอี้ยมจุ้นพายขายในคลองต่างๆทั่วไป เช่น
คลองรังสิต คลองบางกอกน้อย จนเป็นที่มาของคำว่าก๋วยเตี๋ยวเรือ แม้ในสมันปัจจุบันก๋วยเตี๋ยวเหล่านี้
ได้ขึ้นมาขายบนฝั่งแล้ว แต่ก็ยังติดปากเรียกว่า ก๋วยเตี๋ยวเรืออยู่ และร้านก๋วยเตี๋ยวเรือเหล่านี้ ได้นำเรือ
มาเพื่อประดับร้าน จนกลายเป็นเอกลักษณ์ของก๋วยเตี๋ยวเรือในปัจจุบันก๋วยเตี๋ยวเรือเหล่านี้มีเอกลักษณ์
พิเศษคือ ต้อง ชาม เล็ก จิ๋ว และต้องกิน 2 ชาม ไม่อิ่ม หากจะได้รับรสของก๋วยเตี๋ยวเรือแท้ ๆ ควรจะรับ
ประทานแบบใส่เนื้อ ไม่ว่าจะเป็น เนื้อ สด เปื่อย หมก ตับ ลูกชิ้นเท่านั้น (แต่หากใครจะกินหมูก็ได้ไม่ว่า
กันแต่อาจจะไม่ได้อรรถรสของก๋วยเตี๋ยวเรือเท่าที่ควร) ในส่วนของเส้นนั้น ก๋วยเตี๋ยวเรือ ต้องใส่เส้นเล็ก (ใครกำหนดมาก็ไม่สามารถทราบได้) แต่ใส่เส้นแบบอื่นก็ได้ไม่ว่ากัน เมนูก๋วยเตี๋ยวเรือที่นิยมสั่งกันก็คือ
เล็กชิ้นสด(ตก) เล็กชิ้นตับ หมี่ชิ้นสด หมี่ชิ้นเปื่อย หมี่ชิ้นใหญ่เนื้อชิ้นเล็กสดตกตับไม่งอกผักบุ้งเยอะๆ และอื่น ๆ อีกมากมาย
ทำไมก๋วยเตี๋ยวเรือถึงต้องชามเล็ก?
ทำไมก๋วยเตี๋ยวเรือถึงชามเล็ก เป็นข้อสงสัยที่มีมาอย่างยาวนาน แต่เราสามารถสันนิษฐานได้จาก การขายก๋วยเตี๋ยวเรือสมัยก่อน มีพ่อค้าในเรือ เพียง 1 คน ซึ่งทำหน้าที่ทั้งหมดทุกอย่างตั้งแต่ พายเรือ ลวกเส้น ปรุงก๋วยเตี๋ยว เสริฟ เก็บตังค์ เก็บชาม ล้างชาม ทั้งหมดทำโดยไม่ได้ขยับตัวเลยแม้แต่นิดเดียว เมื่อมีลูกค้าเรียก พ่อค้าก๋วยเตี๋ยวเรือจะพายเรือไป และจอดเทียบท่า แล้วจึงลวกก๋วยเตี๋ยวขาย ส่วนการ
ล้างจานนั้นก็ล้างในคลองเลยนั้นเอง (สมัยก่อนคลองยังสะอาดอยู่ ) ดังนั้นการที่คนขายอยู่ในเรือ คนซื้อ
อยู่บนฝั่ง การขนส่งหากเป็นก๋วยเตี๋ยวชามใหญ่จะทำให้หนัก ยกลำบาก อาจทำให้เรือโคลงเคลง อาจ
เป็นสาเหตุให้เรือล่มได้ ดังนั้นก๋วยเตี๋ยวเรือจึงทำชามเล็กๆ น้ำซุปน้อยๆแต่เข้มข้นเข้าไว้ ทำให้การส่ง
สินค้าให้ลูกค้าเกิดความปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ลูกค้า และเรือนั้นเอง


วยเตี๋ยวเรือมีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน มาตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนปลาย ซึ่งชุมชนชาวจีนที่อาศัยอยู่ริมคลองกรุงศรีอยุธยาและบางกอก ได้นำสูตรการปรุงก๋วยเตี๋ยวที่มาจาก
เมืองจีน  มาผสมกับเครื่องปรุง และวัตถุดิบ ของเมืองไทย จนได้เป็นก๋วยเตี๋ยวที่มีความอร่อยถูกปากของ
ชาวไทย และชาวจีนเหล่านั้นจึงนำก๋วยเตี๋ยวบรรทุกบน เรือเอี้ยมจุ้นพายขายในคลองต่างๆทั่วไป เช่น
คลองรังสิต คลองบางกอกน้อย จนเป็นที่มาของคำว่าก๋วยเตี๋ยวเรือ แม้ในสมันปัจจุบันก๋วยเตี๋ยวเหล่านี้
ได้ขึ้นมาขายบนฝั่งแล้ว แต่ก็ยังติดปากเรียกว่า ก๋วยเตี๋ยวเรืออยู่ และร้านก๋วยเตี๋ยวเรือเหล่านี้ ได้นำเรือ
มาเพื่อประดับร้าน จนกลายเป็นเอกลักษณ์ของก๋วยเตี๋ยวเรือในปัจจุบันก๋วยเตี๋ยวเรือเหล่านี้มีเอกลักษณ์
พิเศษคือ ต้อง ชาม เล็ก จิ๋ว และต้องกิน 2 ชาม ไม่อิ่ม หากจะได้รับรสของก๋วยเตี๋ยวเรือแท้ ๆ ควรจะรับ
ประทานแบบใส่เนื้อ ไม่ว่าจะเป็น เนื้อ สด เปื่อย หมก ตับ ลูกชิ้นเท่านั้น (แต่หากใครจะกินหมูก็ได้ไม่ว่า
กันแต่อาจจะไม่ได้อรรถรสของก๋วยเตี๋ยวเรือเท่าที่ควร) ในส่วนของเส้นนั้น ก๋วยเตี๋ยวเรือ ต้องใส่เส้นเล็ก (ใครกำหนดมาก็ไม่สามารถทราบได้) แต่ใส่เส้นแบบอื่นก็ได้ไม่ว่ากัน เมนูก๋วยเตี๋ยวเรือที่นิยมสั่งกันก็คือ
เล็กชิ้นสด(ตก) เล็กชิ้นตับ หมี่ชิ้นสด หมี่ชิ้นเปื่อย หมี่ชิ้นใหญ่เนื้อชิ้นเล็กสดตกตับไม่งอกผักบุ้งเยอะๆ และอื่น ๆ อีกมากมาย
ทำไมก๋วยเตี๋ยวเรือถึงต้องชามเล็ก?
ทำไมก๋วยเตี๋ยวเรือถึงชามเล็ก เป็นข้อสงสัยที่มีมาอย่างยาวนาน แต่เราสามารถสันนิษฐานได้จาก การขายก๋วยเตี๋ยวเรือสมัยก่อน มีพ่อค้าในเรือ เพียง 1 คน ซึ่งทำหน้าที่ทั้งหมดทุกอย่างตั้งแต่ พายเรือ ลวกเส้น ปรุงก๋วยเตี๋ยว เสริฟ เก็บตังค์ เก็บชาม ล้างชาม ทั้งหมดทำโดยไม่ได้ขยับตัวเลยแม้แต่นิดเดียว เมื่อมีลูกค้าเรียก พ่อค้าก๋วยเตี๋ยวเรือจะพายเรือไป และจอดเทียบท่า แล้วจึงลวกก๋วยเตี๋ยวขาย ส่วนการ
ล้างจานนั้นก็ล้างในคลองเลยนั้นเอง (สมัยก่อนคลองยังสะอาดอยู่ ) ดังนั้นการที่คนขายอยู่ในเรือ คนซื้อ
อยู่บนฝั่ง การขนส่งหากเป็นก๋วยเตี๋ยวชามใหญ่จะทำให้หนัก ยกลำบาก อาจทำให้เรือโคลงเคลง อาจ
เป็นสาเหตุให้เรือล่มได้ ดังนั้นก๋วยเตี๋ยวเรือจึงทำชามเล็กๆ น้ำซุปน้อยๆแต่เข้มข้นเข้าไว้ ทำให้การส่ง
สินค้าให้ลูกค้าเกิดความปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ลูกค้า และเรือนั้นเอง


วยเตี๋ยวเรือมีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน มาตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนปลาย ซึ่งชุมชนชาวจีนที่อาศัยอยู่ริมคลองกรุงศรีอยุธยาและบางกอก ได้นำสูตรการปรุงก๋วยเตี๋ยวที่มาจาก
เมืองจีน  มาผสมกับเครื่องปรุง และวัตถุดิบ ของเมืองไทย จนได้เป็นก๋วยเตี๋ยวที่มีความอร่อยถูกปากของ
ชาวไทย และชาวจีนเหล่านั้นจึงนำก๋วยเตี๋ยวบรรทุกบน เรือเอี้ยมจุ้นพายขายในคลองต่างๆทั่วไป เช่น
คลองรังสิต คลองบางกอกน้อย จนเป็นที่มาของคำว่าก๋วยเตี๋ยวเรือ แม้ในสมันปัจจุบันก๋วยเตี๋ยวเหล่านี้
ได้ขึ้นมาขายบนฝั่งแล้ว แต่ก็ยังติดปากเรียกว่า ก๋วยเตี๋ยวเรืออยู่ และร้านก๋วยเตี๋ยวเรือเหล่านี้ ได้นำเรือ
มาเพื่อประดับร้าน จนกลายเป็นเอกลักษณ์ของก๋วยเตี๋ยวเรือในปัจจุบันก๋วยเตี๋ยวเรือเหล่านี้มีเอกลักษณ์
พิเศษคือ ต้อง ชาม เล็ก จิ๋ว และต้องกิน 2 ชาม ไม่อิ่ม หากจะได้รับรสของก๋วยเตี๋ยวเรือแท้ ๆ ควรจะรับ
ประทานแบบใส่เนื้อ ไม่ว่าจะเป็น เนื้อ สด เปื่อย หมก ตับ ลูกชิ้นเท่านั้น (แต่หากใครจะกินหมูก็ได้ไม่ว่า
กันแต่อาจจะไม่ได้อรรถรสของก๋วยเตี๋ยวเรือเท่าที่ควร) ในส่วนของเส้นนั้น ก๋วยเตี๋ยวเรือ ต้องใส่เส้นเล็ก (ใครกำหนดมาก็ไม่สามารถทราบได้) แต่ใส่เส้นแบบอื่นก็ได้ไม่ว่ากัน เมนูก๋วยเตี๋ยวเรือที่นิยมสั่งกันก็คือ
เล็กชิ้นสด(ตก) เล็กชิ้นตับ หมี่ชิ้นสด หมี่ชิ้นเปื่อย หมี่ชิ้นใหญ่เนื้อชิ้นเล็กสดตกตับไม่งอกผักบุ้งเยอะๆ และอื่น ๆ อีกมากมาย
ทำไมก๋วยเตี๋ยวเรือถึงต้องชามเล็ก?
ทำไมก๋วยเตี๋ยวเรือถึงชามเล็ก เป็นข้อสงสัยที่มีมาอย่างยาวนาน แต่เราสามารถสันนิษฐานได้จาก การขายก๋วยเตี๋ยวเรือสมัยก่อน มีพ่อค้าในเรือ เพียง 1 คน ซึ่งทำหน้าที่ทั้งหมดทุกอย่างตั้งแต่ พายเรือ ลวกเส้น ปรุงก๋วยเตี๋ยว เสริฟ เก็บตังค์ เก็บชาม ล้างชาม ทั้งหมดทำโดยไม่ได้ขยับตัวเลยแม้แต่นิดเดียว เมื่อมีลูกค้าเรียก พ่อค้าก๋วยเตี๋ยวเรือจะพายเรือไป และจอดเทียบท่า แล้วจึงลวกก๋วยเตี๋ยวขาย ส่วนการ
ล้างจานนั้นก็ล้างในคลองเลยนั้นเอง (สมัยก่อนคลองยังสะอาดอยู่ ) ดังนั้นการที่คนขายอยู่ในเรือ คนซื้อ
อยู่บนฝั่ง การขนส่งหากเป็นก๋วยเตี๋ยวชามใหญ่จะทำให้หนัก ยกลำบาก อาจทำให้เรือโคลงเคลง อาจ
เป็นสาเหตุให้เรือล่มได้ ดังนั้นก๋วยเตี๋ยวเรือจึงทำชามเล็กๆ น้ำซุปน้อยๆแต่เข้มข้นเข้าไว้ ทำให้การส่ง
สินค้าให้ลูกค้าเกิดความปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ลูกค้า และเรือนั้นเอง

ไม่มีความคิดเห็น: